วันเสาร์ที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2558

เลี้ยงเป็ดไข่ 2 เดือนแรก

การเลี้ยงลูกเป็ด อายุ 0-2 สัปดาห์เลี้ยงเป็ดไข่ 2 เดือนแรก

 

การเลี้ยงเป็ดจะสำเร็จหรือไม่นั้นมีความเกี่ยวข้องกับการเลี้ยงลูกเป็ดระยะ 2 สัปดาห์แรกเป็นอย่างยิ่ง เพราะว่าลูกเป็ดนั้น ถือว่าเป็นจุดเริ่มต้นของการทำฟาร์ม ถ้าลูกเป็ดแข็งแรง เติบโตสม่ำเสมอ สมบูรณ์มีภูมิคุ้มกันโรคระบาดและไม่อมโรคแล้ว การเลี้ยงในระยะต่อไปจะไม่ประสบปัญหา โดยปกติแล้วลูกเป็ดอายุ 0-2 สัปดาห์ มีความต้องการอยู่ 5 อย่างด้วยกัน คือการเตรียมพร้อมก่อนนำลูกเป็ดเข้ามาเลี้ยง ความอบอุ่น อาหารที่มีคุณภาพ น้ำสะอาดและการป้องกันโรค

1. การเตรียมพร้อมก่อนนำลูกเป็ดไข่เข้ามาเลี้ยง มีหลายสิ่งหลายอย่างที่เจ้าของฟาร์มจะต้องตระเตรียมไว้ล่วงหน้าก่อนที่จะนำลูกเป็ดเข้าฟาร์ม
1.1 ทำความสะอาดโรงเรือนและอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับลูกเป็ดระยะแรก โดยการล้างน้ำและนำออกตากแดด การเตรียมกรงกก หรือห้องสำหรับกกลูกเป็ดจะต้องเตรียมล่วงหน้าอย่างน้อย 2 สัปดาห์ ถ้ากกลูกเป็ดบนพื้นคอกจะต้องเปลี่ยนวัสดุรองพื้นใหม่ทุกๆ ครั้งที่นำลูกเป็ดเข้าคอก
1.2 การสั่งจองลูกเป็ด ก่อนที่จะเลี้ยงเป็ด ควรจะได้มีการวางแผนว่าควรจะเลี้ยงในช่วงเวลาใดจึงจะเหมาะสม และเมื่อตัดสินใจแล้วควจจะสั่งจองลูกเป็ดไว้ล่วงหน้า และควรสั่งซื้อสั่งจองจากโรงฟักลูกเป็ดที่มีชื่อเสียงที่ผลิตลูกเป็ดที่มีคุณภาพ และต้องส่งลูกเป็ดในถึงฟาร์มได้ในระยะเวลา 24 ชั่วโมง หากโรงฟักอยู่ไกลเกิน การขนส่งลูกเป็ดเกิน 24 ชั่วโมง จะทำให้ลูกเป็ดสูญเสียน้ำโดยระเหยออกจากตัว ทำให้ลูกเป็ดน้ำหนักลด มีผลต่อความแข็งแรงในระยะเวลาต่อมา
1.3 การให้น้ำสะอาด ในระยะแรกที่ลูกเป็ดมาถึงฟาร์ม น้ำที่เตรียมไว้ควรเป็นน้ำสะอาด เช่น น้ำใต้ดิน น้ำบาดาลหรือบ่อน้ำตื้น หรือน้ำฝน หลีกเลี่ยงการใช้น้ำประปา เพราะว่าลูกเป็ดจะตายหรืออ่อนแอมากเมื่อได้กินน้ำที่มีสารเคมี ถ้าจำเป็นต้องใช้น้ำประปาก็อาจทำได้โดยเปิดน้ำเก็บไว้ในถึงเป็นเวลานานข้ามคืน
1.4 โรงเรือนและอุปกรณ์ ก็จะต้องเตรียมไว้ล่วงหน้าที่สำคัญๆ ได้แก่
- โรงเรือนที่ใช้กกลูกเป็ด ควรป้องกันลมและฝนได้ พร้อมที่จะต้องป้องกันสัตว์ต่างๆ ที่เป็นศัตรูและเป็นพาหะนำเชื้อโรคมาสู่ลูกเป็ด เช่น สุนัข แมว หนู นกต่างๆ
- การระบายอากาศ โรงเรือนควรมีช่องระบายอากาศที่ดี ส่วนใหญ่แล้วโรงกกลูกเป็ดมักมีฝา ประตูและหน้าต่าง ค่อนข้างจะมิดชิด เพื่อเก็บความอบอุ่นและป้องกันลมแรง การมีช่องระบายอากาศจึงมีความสำคัญ
http://www.rakbankerd.com/agriculture/page.php?id=3243&s=tblanimal

วันศุกร์ที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2558

การให้น้ำและอาหารลูกเป็ด


ในระยะ 2 วันแรก ควรให้อาหารผสมชนิดผงคลุกน้ำพอหมาดๆ ใส่ในภาชนะแบนๆ มีขอบเตี้ยๆ เช่น ถาดสังกะสีหรือไม่ก็โรยบนกล่องกระดาษที่แกะเป็นแผ่นเรียบๆ บนพื้น อาหารควรเป็นอาหารลูกเป็ดระยะ 0-3 สัปดาห์ มีโปรตีน 17-18% พลังงานใช้ประโยชน์ได้ 2,890 กิโลแคลอรี่ มีน้ำสะอาดวางให้กินห่างจากไฟกกประมาณ 30-50 ซ.ม. การให้อาหารและน้ำหลังจาก 2 วันแรกให้วางอาหารค่อยๆ ห่างจากไฟกก 1.5-2 เมตร และขยับให้ห่างออกเรื่อยๆ สุดท้ายให้ห่างมากที่สุดเท่าที่จะทำได้ การให้น้ำใส่ในขวดพลาสติกสำหรับให้น้ำเป็ดแลไก่ ให้วางอยู่ใกล้อาหาร ควรเป็นน้ำสะอาดปราศจากสารเคมีคลอรีน ถังน้ำ ขวดน้ำ รางน้ำ ควรทำความสะอาดทุกวันๆ ละ 1-2 ครั้ง 

วันอังคารที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2558

การเลี้ยงลูกเป็ด อายุ 3-8 สัปดาห์

การเลี้ยงลูกเป็ด อายุ 3-8 สัปดาห์

ลูกเป็ดอายุครบ 2 สัปดาห์ ความต้องการทางด้านกกเพื่อให้ความอบอุ่นจะลดลงหรือไม่ต้องการเลย เพราะลูกเป็ดมีขนขึ้นเต็มตัว และกินอาหารได้ดีจนสามารถสร้างความอบอุ่นขึ้นได้เองอย่างเพียงพอ ลูกเป็ดอายุ 3-8 สัปดาห์จะมีการเจริญเติบโตสูง ดังนั้น จึงควรเอาใจใส่ด้านอาหาร การให้อาหารและส่วนประกอบของอาหารที่ถูกต้อง จำนวนอาหารที่ให้เป็ดกินและการจัดการเลี้ยงดูที่เหมาะสม

1. การจัดการเลี้ยงดูที่เหมาะสม อาจเลี้ยงอยู่ในโรงเรือนมีหลังคาและกั้นห้องให้อยู่รวมกันเป็นห้องๆ หรืออาจจะเลี้ยงปล่อยทุ่งไล่ต้อนกลับคอกในเวลาเย็นๆ หรืออาจจะเลี้ยงในโรงเลี้ยงเป็ดที่มีลานดินยื่นออกมานอกโรงเรือนให้ลูกเป็ดเล่นและพักผ่อนในเวลากลางวัน ส่วนกลางคืนในขังไว้ในโรงเรือน ข้อสำคัญคือ อย่าขังเป็ดรวมกันให้แน่นเกินไป เพราะเป็ดจะจิกกัน โดยเฉพาะถ้าให้อาหารไม่เพียงพอ หรืออาหารมีส่วนประกอบไม่ได้สัดส่วน ลูกเป็ดจะยิ่งจิกขนและกินขนกันมากขึ้น ข้อแนะนำคือ ให้ลูกเป็ดอยู่ระหว่าง 5-6 ตัวต่อพื้นที่ 1 ตารางเมตร มีน้ำสะอาดให้กินเพียงพอ
2. การให้อาหาร ระยะนี้ลูกเป็ดมีการเจริญเติบโตสูง อาหารที่ใช้จึงควรเป็นอาหารที่มีคุณภาพสูง โดยปกติแล้วจะให้อาหารลูกเป็ดวันละ 2 ครั้ง คือเช้า 7-8 โมง และบ่าย 2-3 โมง อาหารที่ให้เป็นอาหารชนิดผงคลุกน้ำให้ชื้นพอหมาดๆ ไม่ถึงกับเปียกแฉะ ซึ่งจะทำให้ลูกเป็ดกินได้ง่าย และไม่ตกหล่นมาก อาหารที่คลุกน้ำแล้วจะถูกเทใส่ในรางไม้หรือถังใส่อาหารสัตว์ชนิดแขวน ขนาดบรรจุ 4-5 ก.ก. บางแห่งอาจทำง่ายๆ คือกองอาหารที่ผสมเสร็จแล้วลงบนกระสอบหรือภาชนะแบนๆ วางอยู่กลางคอก และไกลจากน้ำดื่ม 5-6 เมตร เป็ด 100 ตัว ต้องการรางอาหารที่กินได้ 2 ข้างราง จำนวน 3 รางๆ ละ 1 เมตร ต้องการขวดน้ำขนาด 8 ลิตร จำนวน 3 ขวด พร้อมกันนี้จะต้องสุ่มลูกเป็ดมาชั่งทุกๆ สัปดาห์ โดยสุ่มชั่ง 100% ของเป็ดทั้งหมด แล้วเปรียบเทียบน้ำหนักมาตรฐานในตารางที่ 3 ถ้าหากเป็ดผอมเกินไปก็ควรจะเพิ่มอาหารให้มากขึ้น หรือถ้าหากอ้วนเกินไปก็ลดอาหารลงให้พอเหมาะ

วันอาทิตย์ที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2558

การเลี้ยงลูกเป็ด อายุ 21 สัปดาห์ขึ้นไป

การเลี้ยงลูกเป็ด อายุ 21 สัปดาห์ขึ้นไป


เมื่อเป็ดอายุได้ 21 สัปดาห์ก็จะเริ่มไข่ ในระยะนี้เป็ดต้องการอาหารสำหรับเป็ดไข่ที่มีคุณค่าทางโภชนะค่อนข้างสูง ปริมาณอาหารที่ให้ขึ้นอยู่กับผลผลิตที่เพิ่มขึ้น เมื่อเป็ดเริ่มไข่จะกินอาหารวันละประมาณ 100 กรัม/ตัว/วัน ก็เพียงพอสำหรับการผลิตไข่ในช่วงเแรก น้ำหนักไข่ประมาณ 45 กรัม นอกจากนี้ขนาดไข่เพิ่มขึ้นตามปริมาณอาหารที่ให้และตามอายุของเป็ด เมื่ออายุมากขึ้นขนาดของไข่ก็ใหญ่ขึ้นตามไปด้วย ปริมาณอาหารที่ใช้จะอยู่ระหว่าง 140-160 กรัม/ตัว/วัน ถ้าหากให้อาหารไม่เต็มที่ขนาดของไข่ก็จะเล็กลงเช่นกัน ทั้งนี้ปริมาณอาหารไม่เพียงพอต่อความต้องการ ผู้เลี้ยงจะต้องพิจารณาว่าอาหารที่ใช้เลี้ยงมากน้อยเพียงใด ถ้าอาหารหมดเร็วก็ให้เพิ่มขึ้น ถ้าอาหารเหลือก้ลดปริมาณลง ถ้าในบางครั้งจะมีการใช้อาหารมากเกินไป ทำให้ต้นทุนการผลิตเพิ่มขึ้นโดยไม่จำเป็น ซึ่งอาจมีสาเหตุต่างๆ ดังนี้
1. หัวอาหารสำหรับเป็ดไข่ ที่ใช้ในการผสมกับวัตถุดิบอื่นๆ ซึ่งมีราคาค่อนข้างสูงประมาณ 16 บาท/ก.ก. อัตราส่วนที่ใช้ผสมกับรำละเอียด ปลายข้าว และรำหยาบ โดยใช้ประมาณ 25-35% ในสูตรอาหาร เกษตรกรอาจจะชั่งน้ำหนักหัวอาหารมากเกินความจำเป็นทำให้ต้นทุนของอาหาร/ก.ก. เพิ่มสูงขึ้นไปด้วย
2. ในการให้อาหารเป็ดไข่ ต้องให้น้อยๆ ก่อนในระยะแรกแล้วจึงค่อยๆ เพิ่มในภายหลัง เพราะเป็ดไข่ในช่วงเช้าจะกินอาหารอย่างเร็ว ซึ่งถ้ามีปริมาณอาหารมากในราง จำทำให้อาหารหกหล่นมาก ทุกครั้งก่อนให้อาหารควรทำความสะอาดรางน้ำก่อนและเติมน้ำให้เรียบร้อย ควรให้อาหารวันละ 3 ครั้ง ซึ่งจะทำให้ปริมาณอาหารหกหล่นน้อย แต่หากมีเวลาน้อยก็ให้อาหารอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง คือ เช้าและบ่าย การให้อาหารแต่ละครั้งให้พิจารณาว่า เมื่อให้อาหารมื้อเช้ากะว่าอาหารที่ให้จะหมดพอดีหรือเหลือบ้างนิดหน่อย จนถึงเวลาให้อาหารมื้อต่อไป
สำหรับการจัดการเรื่องรางน้ำ รางอาหาร การทำความสะอาดโรงเรือนและการทำความสะอาดกรงเป็ด ก็ดำเนินการเช่นเดียวกับเป็ดรุ่น แต่ในช่วงเป็ดกำลังให้ไข่ควรพิถีพิถันมากกว่าเป็ดรุ่น เพราะถ้าเป็ดเกิดตกใจ หรือได้รับความเครียดจากสภาพทั่วไป จะทำให้ผลผลิตน้อยลง ซึ่งในช่วงนี้มีข้อปฏิบัติดังนี้
2.1 การทำความสะอาดโรงเรือน และอุปกรณ์ต่างๆ ควรระมัดระวังให้เป็ดตกใจน้อยที่สุด และควรทำให้อยู่ในช่วงเวลาเดียวกัน เพื่อให้เป็ดเกิดความเคยชิน
2.2 การเปลี่ยนสูตรอาหารในแต่ละครั้ง ควรค่อยๆ เปลี่ยน หากเปลี่ยนโดยทันทีอาจทำให้เป็ดท้องเสีย ผลผลิตลดลงได้
2.3 การจับเป็ดในเวลาทำวัคซีน ต้องพยายามจับให้นิ่มนวลที่สุดเท่าที่จะทำได้
2.4 อย่าให้หนู แมว หมา มาป้วนเปี้ยนบริเวณกรงตับ หรือโรงเรือนที่เลี้ยง
2.5 ในเวลากลางคืน ควรมีน้ำให้เป็ดได้กินตลอดคืน

วันเสาร์ที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2558

อุปกรณ์ในการเลี้ยงเป็ด

อุปกรณ์ในการเลี้ยงเป็ด


1. เครื่องกกลูกเป็ด
ลูกเป็ดเมื่อยังเล็กอยู่ไม่สามารถสร้างความอบอุ่นให้แก่ร่างกายได้เพียงพอ เมื่ออยู่ในสภาพ
อากาศเย็นโดยเฉพาะในเวลากลางคืนหรือตอนเช้า ถ้าปล่อยไว้เช่นนี้นาน ๆ ลูกเป็ดจะตายหรือแคระ
แกร็นได้ ดังนั้นผู้เลี้ยงจึงต้องมีเครื่องกกเพื่อให้ลูกเป็ดได้รับความอบอุ่นเพียงพอ
การกกลูกเป็ดสามารถท้าได้ 2 วิธีคือกกโดยใช้แม่เป็ดกกและกกโดยใช้เครื่องกก
1.1 การกกด้วยแม่เป็ด เป็นวิธีแบบธรรมชาติใช้ได้ส้าหรับกรณีที่เลี้ยงเป็ดจ้านวนไม่
มากหรือเป็นการเลี้ยงแบบหลังบ้าน มีลูกเป็ดไม่กี่ตัวก็ปล่อยให้แม่เป็ดกกและเลี้ยงลูกเอง
1.2 กกด้วยเครื่องกกเครื่องกกที่มีใช้ในปัจจุบัน ได้แก่ เครื่องกกแก๊สเครื่องกกไฟฟ้า
หลักการและวิธีด้าเนินการ ดูรายละเอียดในการเลี้ยงไก่และการจัดการไก่กระทง

วันศุกร์ที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2558

อาหารเป็ดไข่สําเร็จรูป การเลี้ยงเป็ดไข่

การจัดการน้ำและอาหาร อาหารเป็ดไข่สําเร็จรูป การเลี้ยงเป็ดไข่
 


1. หมั่นท าความสะอาดกระปุกน้ า อย่างน้อย วันละ 2 ครั้ง
2. ควรให้อาหารที่ละน้อย เติ่มบ่อย ๆ เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ลูกเป็ดกินอาหารได้ดี และอาหารไม่ควรเหลือค้าง
รางอาหาร
3. ลูกเป็ดควรได้รับโปรตีนจากอาหารไม่น้อยกว่า 18% ซึ่งถ้าลูกเป็ดได้รับอาหารไม่มีคุณค่า จะท าให้ลูกเป็ด
แคระแกรน ป่วยเป็นโรคได้ง่าย
4. ไม่ควรผสมร าหยาบหรือข้าวโพดเป็นส่วนผสมในอาหารลูกเป็ด
5. ภายในระยะ 3 สัปดาห์แรก ไม่ควรให้ลูกเป็ดเล่นน้ า
6. ต้องหมั่นดูแลความสะอาดให้มาก ถ้าพื้นแฉะควรเปลี่ยนวัสดุรองพื้น
7. ระวังศัตรูลูกเป็ด เช่น มด, แมลง, สุนัข, แมว ฯลฯ
การเลี้ยงเป็ดไข่
การเลี้ยงเป็ดไข่

วันพุธที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2558

การเตรียมตัวเพื่อเลี้ยงลูกเป็ด

การเตรียมตัวเพื่อเลี้ยงลูกเป็ด


ก่อนลูกเป็ดมาถึงควรเตรียมตัวในเรื่องต่างๆ ที่จ้าเป็นไว้ให้พร้อมดังนี้
1 ท้าความสะอาดโรงเรือนและอุปกรณ์การเลี้ยง พร้อมทั้งพ่นน้้ายาฆ่าเชื้อโรคทิ้งไว้ไม่น้อยกว่า
7 วัน
2 น้าวัสดุรองพื้นหรือเปลือกข้าวที่ใหม่และสะอาด รองพื้นคอกให้มีความหนาประมาณ 4 นิ้ว
วัสดุรองพื้นนี้จะต้องแห้งสะอาดและไม่มีเชื้อรา
3 จัดเตรียมเครื่องกกให้พร้อมที่จะใช้งานเมื่อลูกเป็ดมาถึง
4 มีแผงล้อมเครื่องกกกันไม่ให้ลูกเป็ดออกห่างจากเครื่องกกมากเกินไป แผงล้อมเครื่องกกอาจ
ใช้ลวดตาข่ายแผงไม้ไผ่สาน (เสียม) หรือสังกะสีแผ่นเรียบความสูงประมาณ 50 เซนติเมตรวางห่าง
จากเครื่องกกประมาณ 60 เซนติเมตรในระยะการกก 2-3 วันแรก
5 จัดเตรียมอุปกรณ์ให้น้้าและอาหารไว้ให้พร้อม และมีปริมาณเพียงพอ
6 เพื่อให้ลูกเป็ดกินอาหารเป็นได้เร็วขึ้น ควรปูพื้นบริเวณเครื่องกกด้วยกระสอบป่านที่สะอาด
แล้วโรยอาหารให้กิน อย่าใช้กระดาษปูพื้นเนื่องจากกระดาษจะลื่นจนเป็นสาเหตุท้าให้ลูกเป็ดขาเสียได้

วันอาทิตย์ที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2558

การเลี้ยงดูลูกเป็ด การเลี้ยงเป็ดไข่

การเลี้ยงดูลูกเป็ด การเลี้ยงเป็ดไข่ 

การเลี้ยงดูลูกเป็ดเล็กมีหลักปฏิบัติง่าย ๆ ดังนี้

1. ลูกเป็ดอายุ 1 วันถึง 3 สัปดาห์ควรให้ความอบอุ่นด้วยเครื่องกก
2. ระวังอย่าให้ลูกเป็ดเล็กลงเล่นน้้า อุปกรณ์ให้น้้าควรจะมีที่กั้นไม่ให้เป็ดลงไปเล่น เพราะลูกเป็ด
เล็กขนจะเปียกง่ายเนื่องจากต่อมน้้ามันที่ช่วยให้ขนเป็ดเป็นมันและป้องกันการเปียกน้้ายังมีน้อย ซึ่ง
อาจจะท้าให้เป็ดหนาวและเป็ดปอดบวมได้ง่าย หรือตายได้
3 การให้อาหารลูกเป็ดในช่วงแรกควรให้กินครั้งละน้อยหรือให้อาหารทุก 2-3 ชั่วโมงและจากนั้น
เมื่อลูกเป็นกินอาหารได้เก่งแล้วก็จะลดลงให้วันละ 3 ครั้ง ปริมาณอาหารที่ให้ควรให้มากพอที่ลูกเป็ดจะ
กินได้เกือบตลอดเวลาแต่อย่าให้จนเหลือและต้องคอยดูความสะอาดอย่าให้เศษดินและสิ่งสกปรกลงไปใน
อาหารจนกระทั่งอายุครบ 1 สัปดาห์
การเลี้ยงเป็ดไข่

วันเสาร์ที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2558

ข้อ ควรคานึงถึงสิ่งต่อไปนี้ ในการเลี้ยงเป็ดไข่

ข้อ ควรคานึงถึงสิ่งต่อไปนี้ ในการเลี้ยงเป็ดไข่

1. พื้นที่พอเหมาะสาหรับการกกลูกเป็ดโดยประมาณ 7-10 ตัว / ตารางฟุต
2. ลูกเป็ดอายุ 1-7 วันแรกต้องดูแลเป็นพิเศษ เพราะถ้าไม่มีการกกลูกเป็ดอาจหนาวตาย อุณหภูมิที่ใช้ในการ
กก 1-7 วันแรกประมาณ 85-90 F แล้วลดลงสัปดาห์ละ 5 Fหรือให้สังเกตว่าลูกเป็ดมีการกระจายตัวกันทั่ว
พื้นที่
3 ต้องหมั่นเปลี่ยนวัสดุรองพื้นอย่าให้แฉะ ถ้าเลี้ยงบนพื้นเล้ากรณีกกบนกรงควรมีผ้าหรือกระสอบที่สะอาดปู
พื้นครึ่งหนึ่งของพื้นที่กรงด้านในส่วนมีไฟกกและควรเปลี่ยนผ้าหรือกระสอบทุกวัน
4. ช่วงกลางคืนควรเอากระปุกน้าออกป้องกันการเปียกชื้นและทาให้ลูกเป็ดเปียกน้า
อาจทาให้เป็ดปอดบวม
ตาย
5 ระยะเวลากกลูกเป็ดในฤดูร้อนจะใช้เวลา 2 สัปดาห์ส่วนฤดูหนาว 3 สัปดาห์ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศด้วย

วันศุกร์ที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2558

การเลี้ยงเป็ดไข่

การเลี้ยงเป็ดไข่


1. การดูแลเป็ดในระยะกก (1 วัน - 2 สัปดาห์)
1.1 การให้น้้า ลูกเป็ดต้องการน้้ามากกว่าลูกไก่มาก ดังนั้นจะต้องมีน้้าให้เป็ดกินตลอดเวลาและ
ต้องเป็นน้้าที่สะอาดไม่มีแร่ธาตุที่เป็นพิษเจือปน โดยเฉพาะอย่างยิ่งห้ามใช้น้้าเค็มหรือน้้าที่มีคลอรีน
เข้มข้นสูงเป็นอันขาดเพราะอาจจะท้าให้ลูกเป็ดตายได้
เอกสารประกอบการสอนการผลิตสัตว์ปีก:. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดรประภากรธาราฉายหน้า 6
1.2 การให้อาหาร ลูกเป็ดในระยะกกควรให้อาหารที่มีโปรตีนประมาณ 20% เนื่องจากลูกเป็ด
ก้าลังอยู่ในระยะเจริญเติบโตทางด้านร่างกาย ถ้าหากได้รับอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการไม่เพียงพอ
จะท้าให้เกิดปัญหาลูกเป็ดเจริญเติบโตไม่ดีเท่าที่ควร แคระแกร็นอ่อนแอการให้อาหารควรให้ทีละน้อย
แต่ให้บ่อย ๆ โดยประมาณ 3-4 ครั้ง / วัน อุปกรณ์ให้อาหารลูกเป็ดอาจใช้ถาดอาหารแบบเดียวกับที่ให้
ลูกไก่หรือใช้รางอาหาร และต้องหมั่นท้าความสะอาดอุปกรณ์ให้น้้าและอาหารอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง
1.3 วัสดุรองพื้นหมั่นตรวจสอบวัสดุรองพื้น ระวังอย่าให้ชื้นแฉะหรือจับตัวกันเป็นแผ่นแข็ง
หรือถ้ามีกลิ่นแอมโมเนียจะต้องรีบแก้ไขทันที โดยอาจจะเปลี่ยนวัสดุรองพื้นใหม่หรือน้าวัสดุรองพื้นใหม่
เติมเข้าไป
1.4 แสงสว่างหลังจาก 48 ชั่วโมงไปแล้วควรให้แสงสว่าง 23 ชั่วโมง / วันและค่อย ๆ ลด
อุณหภูมิเครื่องกกลงจนกกว่าจะเลิกกกเมื่ออายุประมาณ 2-3 สัปดาห์
1.5 ตรวจสอบสุขภาพหมั่นตรวจสอบสุขภาพทั่ว ๆ ไปว่ามีผิดปกติหรือมีอัตราการสูงกว่า
มาตรฐานหรือไม่ ถ้าพบว่าอัตราการตายในช่วงสัปดาห์แรกตายมากกว่า 1% สัปดาห์ที่สองมีอัตราการ
ตายมากกว่า 0.5% และอัตราการตายในสัปดาห์ที่สามมากกว่า 0.5% ก็ควรรีบแจ้งสัตวแพทย์เพื่อท้าการ
ตรวจและรักษาต่อไป
1.6 การขายวงล้อมกกค่อย ๆ ขยายวงล้อมกกออกทุก ๆ 2 วันตามการเจริญเติบโตเพื่อให้
ลูกเป็ดได้อยู่อย่างสบายไม่แออัดจนเกินไป ซึ่งอาจจะท้าให้ลูกเป็ดสุมทับกันได้
1.7 การกกลูกเป็ด ถ้าอากาศร้อนจะใช้เวลาในการกกประมาณ 8-10 วันก็พอ แต่ถ้าอากาศเย็น
อาจจะกกจนถึงอายุประมาณ 2 สัปดาห์

วันพฤหัสบดีที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2558

การเลี้ยงเป็ดไข่ การดูแลเป็ดหลังกก (2-7 สัปดาห์)

การเลี้ยงเป็ดไข่ หลังกก (2-7 สัปดาห์)


เมื่อลูกเป็ดโตขึ้นก็เอาแผงกั้นกกออกจนเป็ดกระจายจนทั่วพื้นที่โรงเรือน ระยะนี้ควรใช้พื้นที่
ประมาณ 5-6 ตัว / ตารางเมตรหรือ 60 ตารางเซนติเมตร / ตัว การเลี้ยงเป็ดในระยะนี้ยังคงให้อาหารลูก
เป็ดระยะกกอยู่และต้องเพิ่มพื้นที่การให้น้้าและอาหาร หรือเพิ่มจ้านวนอุปกรณ์ให้น้้าและอาหารให้มาก
ขึ้นเมื่ออายุได้ประมาณ 7 สัปดาห์จึงย้ายไปยังโรงเรือนเลี้ยงเป็ดรุ่น

การเลี้ยงเป็ดไข่ 

การดูแลเป็ดรุ่น (7-18 สัปดาห์)
การเลี้ยงเป็ดในระยะเป็ดรุ่นนี้จะมีความส้าคัญมาก จ้าเป็นจะต้องมีการดูแลและการจัดการเป็น
พิเศษเช่นเดียวกับไก่ไข่ระยะไก่รุ่น เนื่องจากการเลี้ยงในระยะนี้จะมีผลต่อประสิทธิภาพการให้ไข่ในระยะ
ไข่โดยตรง เป็ดในระยะนี้ควรจะมีโครงสร้างของร่างกายแข็งแรง กระดูกและกล้ามเนื้อเจริญเติบโตสม
ส่วนแต่ไม่มีไขมันสะสมหรืออ้วนมากเกินไป
การจัดการในระยะเป็ดรุ่นประกอบด้วย
 - การควบคุมน้้าหนักตัว
 - การควบคุมปริมาณอาหารที่กิน
 - การควบคุมแสงสว่าง

การเลี้ยงเป็ดไข่ 

วันจันทร์ที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2558

การเลี้ยงเป็ดไข่ การเลี้ยงเป็ดไข่ไล่ทุ่ง

การเลี้ยงแบบไล่ทุ่ง การเลี้ยงเป็ดไข่ 

ในระยะเป็ดรุ่น เกษตรกรบางรายอาจใช้วิธีการเลี้ยงเป็ดแบบไล่ทุ่งเพื่อประหยัดต้นทุนค่าอาหาร
ก็ได้ แต่ต้องระมัดระวังการระบาดของโรคโดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคไข้หวัดนก (ไข้หวัดนก) การเคลื่อนย้าย
เป็ดจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งจะต้องประสานงานกับเจ้าหน้าที่ปศุสัตว์อ้าเภอ ปศุสัตว์จังหวัดเพื่อท้าการ
ตรวจโรคเสียก่อน
การเลี้ยงเป็ดไข่ การเลี้ยงเป็ดแบบไล่ทุ่งมีการท้ากันมานานแล้วโดยเฉพาะบริเวณที่ราบภาคกลางซึ่งมีการปลูก
ข้าวเกือบตลอดทั้งปี โดยการไล่ฝูงเป็ดไปตามทุ่งนาที่เพิ่งเก็บเกี่ยวเสร็จ ซึ่งมีเมล็ดข้าวที่ตกหล่นอยู่และ
หอย หรือตามแหล่งน้้าธรรมชาติที่มีสัตว์น้้า เช่นลูกปลาลูกกุ้งและหอยอยู่มาก แต่ผู้เลี้ยงจะต้องให้
เอกสารประกอบการสอนการผลิตสัตว์ปีก:. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดรประภากรธาราฉายหน้า 8
อาหารเสริมในตอนเช้าหรือตอนเย็นวันละมื้อ การเลี้ยงเป็ดแบบไล่ทุ่งจะต้องน้าลูกเป็ดที่กกจนกระทั่ง
แข็งแรงดีแล้วหรือมีอายุประมาณ 2 สัปดาห์ขึ้นไปจนกระทั่งอายุประมาณ 18 สัปดาห์จึงย้ายเป็ดเข้า
มายังโรงเรือนเลี้ยงเป็ดไข่การเลี้ยงเป็ดไข่

การเลี้ยงเป็ดไข่
การเลี้ยงเป็ดไข่

วันอาทิตย์ที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

การเลี้ยงเป็ดไข่แบบลดต้นทุน

การเลี้ยงเป็ดไข่เลี้ยงเป็ดสาว 100 ตัว
- เป็ดกินอาหาร 16 กก/วัน  อาหาร กก. ละ 18 บาท ค่าอาหาร 288 บาท/วัน  = 8,640 บาท/ตัว/เดือน
- เป็ดให้ไข่ วันละ 85 % ( 85 ฟอง/วัน = 2,550 ฟอง/เดือน )
 -ค่าแรงวันละ 300 บาท  = 9,000 บาท/เดือน
 ค่าน้ำ ค่าไฟ ค่าเสื่อม และค่าใช้จ่ายอื่นๆ ประมาณ 1,500 บาท/เดือน
 *ขายไข่ได้ฟองละ 3 บาท  = 85 * 3 =255 บาท/วัน  = 7,650 บาท/เดือน*

 *ถ้าจากตัวเลขสมมติข้างบน จะเห็นว่ารายได้ที่ได้ไม่เพียงพอต่อค่าอาหารยังไม่รวมต้นทุนอื่นๆ  แต่ในทางปฏิบัติ มีวิธีลดต้นทุนการผลิตได้ครับ เช่นเรื่องอาหาร ( 85 % ของต้นทุนทั้งหมด ) สามารถใช้วัตถุดิบอื่นๆที่หาได้ง่ายในท้องถิ่น มาผสมได้เองได้ครับ เช่น รำละเอียด ปลาป่น ปลายข้าว ข้าวโพด มันสำปะหลังเป็นต้น ซึ่งจะช่วยลดต้นทุนได้มากกว่าครึ่งของการใช้อาหารขึ้นทั้งหมด ส่วนหัวอาหารเป็ดไข่ ก็ให้เสริมได้ โดยลดปริมาณลงเหลือเพียงครึ่งเดียวได้ครับ

 * สมมติ ใช้อาหารข้นวันละ 8 กก. = 4,320 บาท/เดือน หักค่าวัสถุดิบอาหารสัตว์อื่นๆ 1,000 บาท ( จริงๆอาจจะมากกว่า ) ค่าน้ำค่าไฟ 1,500 บาท  จะเหลือ 7,650 - 4,320 - 1,000 - 1,500  = 830 บาท/เดือน  ( ยังไม่หักค่าแรงตัวเอง โดยจึงทำให้ดูเหมือนว่ายังสามารถพอมีรายได้อยู่บ้าง แต่จริงๆแล้วขาดทุนครับ )

 ปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ที่จะมีผลกระทบโดยตรงต่อการเลี้ยง ลองตอบคำถามเหล่านี้ดูนะครับ

1.ถ้าเป็ดป่วยเป็นโรค แล้วไม่ให้ไข่ แต่เป็ดกินอาหารทุกวัน ?

2.ราคาวัตถุดิบอาหารสัตว์แพงขึ้น ?
3.ตลาดรับซื้อ ?
การเลี้ยงเป็ดไข่
 ประมาณนี้ครับ  หากเลี้ยงปริมาณที่มาก ยังมีในเรื่องของการสร้างโรงเรือนเลี้ยง การขออนุญาต อบต. หรือเรื่องของมาตรฐานฟาร์มเลี้ยงของกรมปศุสัตว์ด้วยครับ อีกครับ

 การเลี้ยงสัตว์ปีกไข่ กำไรต่อไข่หนึ่งฟองจะไม่มากครับ แต่อาศัยปริมาณการผลิตที่มาก ( ต้นทุนที่มากตามไปด้วย : สายป่านยาว  ยิ้มเท่ห์ ) ทำให้พออยู่ได้หรือมีกำไรบ้างครับ แต่หากไก่หรือเป็ดไข่ป่วย โอกาสขาดทุนมีสูงครับ
การเลี้ยงเป็ดไข่
 แต่ทั้งนี้และทั้งนั้น เรื่อง อาหารสัตว์ เป็นต้นทุนหลักครับ หากสามารถลดได้ และเป็ดยังสามารถให้ผลผลิตได้ดี ก็สามารถเลี้ยงให้มีกำไรได้ครับ ยังไงแนะนำให้เลี้ยงน้อยๆ ก่อนครับ ศึกษาอุปนิสัยและพฤติกรรม และเทคนิคการเลี้ยงต่างๆเพิ่มเติมครับ
การเลี้ยงเป็ดไข่

วันเสาร์ที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

การดูแลเป็ดระยะไข่ (อายุ 19 สัปดาห์ขึ้นไป) การเลี้ยงเป็ดไข่

การเลี้ยงเป็ดไข่ การดูแลเป็ดระยะไข่ (อายุ 19 สัปดาห์ขึ้นไป)

ปกติเป็ดจะเริ่มให้ไข่เมื่ออายุประมาณ 22 สัปดาห์
4.1 โรงเรือน โรงเรือนส้าหรับเลี้ยงเป็ดไข่จะต้องมิดชิดพอสมควรเพื่อป้องกันสัตว์อื่นเข้ามา
รบกวนซึ่งจะท้าให้เป็ดตกใจและไข่ลดลงได้ การเลี้ยงเป็ดไข่ผู้เลี้ยงมักจะจัดให้มีลานดินส้าหรับให้เป็ดได้
การเลี้ยงเป็ดไข่ เดินเล่น บริเวณลานจะมีรางน้้าลึกพอสมควรที่จะให้เป็ดได้จุ่มหัวลงเล่นน้้าได้ แต่ต้องไม่กว้างจนเป็น
สามารถลงไปว่ายน้้าเล่นได้ รางน้้านี้จะต้องท้าความสะอาดได้ง่ายและถ่ายเทน้้าได้สะดวก เพื่อป้องกัน
พื้นโรงเรือนเปียกจึงควรวางรางน้้าไว้บนพื้นคอนกรีตที่ปูทับด้วยสแลท เมื่อน้้าหกลงพื้นก็จะไหลออก
นอกโรงเรือนได้ทันทีและบริเวณลานจะต้องมีรางอาหารวางไว้ให้เป็ดกินด้วย เนื่องจากปกติในช่วงเวลา
กลางวัน เป็ดมักจะเดินเล่นหรือนอนเล่นในบริเวณลานทั้งวัน ยกเว้นในช่วงเวลากลางคืนเป็ดจะเข้าไป
นอนในโรงเรือนที่จัดเตรียมไว้ให้
4.2 รังไข่ ภายในโรงเรือนนี้จะวางรังไข่ไว้บนพื้นส้าหรับเป็ดใช้วางไข่ รังไข่ที่มักใช้จะท้​​าด้วยไม้
ขนาด 12x14 นิ้วสูง 12 นิ้วด้านบนและด้านหน้าเปิดใช้ฟางหรือแกลบรองพื้นรังอัตราการใช้รังไข่ 1
รัง / เป็ด 4-5 ตัว
การเลี้ยงเป็ดไข่ การให้อาหารหลังจากเป็ดได้ประมาณ 10% ของฝูงจึงค่อย ๆ เพิ่มปริมาณอาหารที่ให้เป็ด
วันละ 10 กรัม / ตัว / วันจนเป็ดกินได้อย่างเพียงพอ การให้อาหารเป็ดในระยะนี้ควรให้อาหารแบบเปียก
และควรให้ทีละน้อยวันละ 3-4 ครั้ง เพื่อไม่ให้มีอาหารตกค้างในรางอาหารนานซึ่งอาจจะเกิดการบูดเน่า
ขึ้นและควรท้าความสะอาดรางอาหารทุกวันด้วย
4.3 การระบายอากาศ การระบายอากาศภายในโรงเรือนเป็นสิ่งส้าคัญเพื่อป้องกันไม่ให้เป็ด
เครียดจากความร้อนซึ่งอาจจะท้าให้เป็ดไข่ลดลงได้ นอกจากนี้ยังช่วยระบายก๊าซแอมโมเนียออกจาก
โรงเรือนอีกด้วย
การเลี้ยงเป็ดไข่ แสงสว่างในระยะเป็ดไข่ควรให้แสงสว่างวันละ 16-18 ชั่วโมงเพื่อช่วยในการ

ท้าให้เป็ดไข่
ดีขึ้น การเพิ่มความยาวแสงควรเพิ่มเมื่อเป็ดอายุประมาณ 18 สัปดาห์โดยเพิ่มแสงสัปดาห์ละ 30 นาที
จนกระทั่งความยาวแสงอยู่ที่ 16-18 ชั่วโมง / วัน การเปิดไฟอาจจะเปิดให้ในช่วงค่้าประมาณ 2 ชั่วโมง
และเปิดไฟในช่วงเช้ามืดประมาณ 2-3 ชั่วโมง
การเลี้ยงเป็ดไข่ การให้ผลผลิตไข่การให้ผลผลิตไข่จะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อระบบสืบพันธุ์เจริญเต็มที่ผลผลิต
ไข่สูงสุด (พีค) ประมาณ 85-95% HD เมื่ออายุประมาณ 28-30 สัปดาห์เป็ดจะให้ผลผลิตไข่ประมาณ
1 ปีหรือจนอายุครบ 52 สัปดาห์

http://www.as.mju.ac.th/E-Book/t_prapakorn/%E0%B8%AA%E0%B8%A8241/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B9%87%E0%B8%94.pdf

วันศุกร์ที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2558

การกกลูกเป็ด การเลี้ยงเป็ดไข่

การเลี้ยงเป็ดไข่  การกกลูกเป็ด

- เป็นการทำให้ลูกเป็ดอบอุ่น อาจจะกกบนพื้นดินที่โรยด้วยขี้เลื่อย ฟาง หรือซังข้าวโพด หนาประมาณ 1-2 นิ้ว หรืออาจเป็นพื้นดินที่มีดินทรายรองพื้นก็ได้
- การกกควรแบ่งลูกเป็ดออกเป็นคอกๆ ละ 150-200 ตัว โดยใช้แผงไม้ขัดแตะหรือแผงกระดาษ หรือพลาสติกสูงประมาณ 1 นิ้ว กั้นระหว่างคอก เพื่อป้องกันลูกเป็ดนอนสุมกันในเวลากลางคืน ขนาดของคอกขึ้นกับอายุลูกเป็ด โดยเป็ดอายุ 0-1 สัปดาห์ พื้นที่ 1 ตารางเมตร กกได้ 30 ตัว ถ้าอายุ 1-2 สัปดาห์ พื้นที่ 1 ตารางเมตร กกได้ 23 ตัว และอายุ 2-3 สัปดาห์ ใช้อัตราส่วน 15 ตัว/พื้นที่ 1 ตารางเมตร
- แหล่งความร้อนใช้หลอดไฟฟ้าขนาด 60 วัตต์ 2 หลอด/ลูกเป็ด 200 ตัว หรืออาจใช้โคมไฟสังกะสีที่มีหลอดไฟใต้โคมแขวนสูงจากพื้น 1.5-2 ฟุต หรืออาจใช้แก๊สกกก็ได้
- อาจกกลูกเป็ดในตระกร้าไม้ไผ่หรือกล่องกระดาษ หรือสุ่มไก่โดยมีหลักว่าใช้ผ้าหรือกระสอบคลุมเพิ่มความอบอุ่นให้ลูกเป็ด หรืออาจกกบนตาข่ายยกสูงจากพื้น 10-15 ซ.ม. ลวดข่ายหรือตาข่ายพลาสติก หรือไม้ไผ่ขัดแตะปูไปบนไม้หนา 2x4 นิ้ว ซึ่งวางเรียงกันบนพื้นซีเมนต์ที่ลาดเอียง ลูกเป็ดจะปล่อยเลี้ยงบนพื้นลวดตาข่ายและมีรางน้ำ รางอาหาร และไฟกกอยู่พร้อมลูกเป็ดถ่ายมูลออกมาและน้ำที่หกก็ตกลงบนพื้นซีเมนต์ เราสามารถล้างคอกได้ทุกวัน วิธีนี้จะช่วยลดปัญหาความเปียกชื้นของพื้นคอก และนิยมมากในปัจจุบัน
- ใช้เวลากกลูกเป็ด 1-2 สัปดาห์เท่านั้น ในฤดูร้อนอาจจะกกเพียง 9-10 วันก็พอ แต่ฤดูหนาวอาจจะกก 10-21 วัน แล้วปล่อยออกไปเลี้ยงในบ่อน้ำที่จัดไว้ให้เป็ดเล่น หรือถ้าหากไมมีบ่อน้ำก็สามารถเลี้ยงลูกเป็ดปล่อยในแปลงหญ้า หรือรอบๆ โรงเลี้ยงเป็ดที่มีชายคาหรือร่มไม้ มีน้ำสะอาดให้กินตลอดเวลา
- ถ้าอากาศร้อนก็ไม่จำเป็นต้องเปิดไฟกกลูกเป็ด

หลักความสะอาดก่อน การเลี้ยงเป็ดไข่

หลักความสะอาดก่อน การเลี้ยงเป็ดไข่ 
1. ก่อนนาสัตว์เข้าเลี้ยงครั้งต่อไปควรทาความสะอาด
2. โรงเรือนก่อนทุกครั้งโดยนาเอาวัสดุรองพื้นออก
3. และล้างทาความสะอาดควรฉีดพ่นด้วยยาป้องกัน
4. กาจัดเชื้อโรคและโรยด้วยปูนขาวทันทีและทิ้งไว้
5. ประมาณ 7-14 วันจึงนาสัตว์เข้าเลี้ยง

การเลี้ยงเป็ดไข่